CV ผศ.ดร.ทพญ.เปรมทิพย์ ชลิดาพงศ์

ผศ.ดร.ทพญ.เปรมทิพย์ ชลิดาพงศ์

Asst.Prof.Dr. Premthip Chalidapongse

อาจารย์พิเศษ อนุสาขาวิชาอายุรศาสตร์ช่องปาก / Section of Oral Medicine

0-7428-7586

pt_chalidapongse @ hotmail.com

ประวัติการศึกษา

ปีที่สำเร็จระดับมหาวิทยาลัยประเทศสาขาวิชา
2529ปริญญาตรีมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ไทยทันตแพทยศาสตรบัณฑิต
2539ปริญญาโทมหาวิทยาลัยมหิดลไทยวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
2547ปริญญาเอกEastman Dental Institute, UCL, U. of London, U.K.,อังกฤษBiomedical Informatics and Clinical Dentistry
2558International Certificant, American Board of Dental Sleep Medicine (ABDSM)
2559อนุมัติบัตรสาขาระบบบดเคี้ยวและความเจ็บปวดช่องปากใบหน้า ราชวิทยาลัยทันตแพทยศาสตร์ แห่งประเทศไทย (Diplomate, Thai Board of Occlusion and Orofacial Pain)  

สาขาที่เชี่ยวชาญ/ Field of Expertise

  • ระบบบดเคี้ยว และความเจ็บปวดช่องปากใบหน้า (Occlusion and Orofacial pain)
  • ทันตเวชศาสตร์การนอน (Dental sleep medicine)

หนังสือ/ตำรา

1)   เปรมทิพย์ ชลิดาพงศ์ บทที่ 15 นอนกัดฟัน. ใน: กัลยา ปัญจพรพล, ประพันธ์ กิตติวรวิทย์กุล, นฤชา
จิระกาลวสาน, มณฑิดา วีรวิกรม, วิชญ์ บรรณหิรัญ. Basic Sleep Medicine เวชศาสตร์การนอนหลับขั้นพื้นฐานสำหรับแพทย์ พยาบาล นักศึกษาและบุคลากรทางการแพทย์. ISBN: 978-616-92678-5-0 พิมพ์ครั้งที่ 2 กรุงเทพ: บริษัทบียอนด์เอ็นเทอร์ไพรซ์จำกัด; 2563. หน้า 134-1391)  

2)   เปรมทิพย์ ชลิดาพงศ์ บทที่ 15 A sleep bruxism patient with orofacial pain ผู้ป่วยนอนกัดฟันร่วมกับมีอาการปวดบริเวณใบหน้า ใน: ทายาท ดีสุดจิต, กัลยา ปัญจพรพล, มณฑิดา วีรวิกรม, วิชญ์ บรรณหิรัญ,
วิสาข์สิริ ตันตระกูล, นฤชา จิรกาลวสาน, ประพันธ์ กิตติวรวิทย์กุล.  Case-based Approach in Sleep Medicine แนวคิดและบทเรียนจากผู้ป่วยในเวชศาสตร์การนอนหลับสำหรับแพทย์ ทันตแพทย์ พยาบาลและนักศึกษา. ISBN: 978-616-92678-4-3 พิมพ์ครั้งที่ 1 กรุงเทพ: บริษัทบียอนด์เอ็นเทอร์ไพรซ์จำกัด; 2562. หน้า 189-207.

3)   เปรมทิพย์ ชลิดาพงศ์ บทที่ 16 Select the right patient for oral appliance therapy ผู้ป่วยนอนกรนมีอาการง่วงมากระหว่างวัน ใน: ทายาท ดีสุดจิต, กัลยา ปัญจพรพล, มณฑิดา วีรวิกรม, วิชญ์ บรรณหิรัญ,
วิสาข์สิริ ตันตระกูล, นฤชา จิรกาลวสาน, ประพันธ์ กิตติวรวิทย์กุล.  Case-based Approach in Sleep Medicine แนวคิดและบทเรียนจากผู้ป่วยในเวชศาสตร์การนอนหลับสำหรับแพทย์ ทันตแพทย์ พยาบาลและนักศึกษา. ISBN: 978-616-92678-4-3 พิมพ์ครั้งที่ 1 กรุงเทพ: บริษัทบียอนด์เอ็นเทอร์ไพรซ์จำกัด; 2562. หน้า 208-221.

4) เปรมทิพย์ ชลิดาพงศ์ การรักษาด้วยทันตอุปกรณ์. ใน: พิมล รัตนาอัมพวัลย์, นฤชา จิระกาลวสาน,
 อรุณวรรณ พฤทธิพันธุ์, นันทา มาระเนตร์, บรรณาธิการ. คำแนะนำสำหรับการวินิจฉัยและดูแลรักษาภาวะ หยุดหายใจขณะหลับจากการอุดกั้นในประเทศไทยสำหรับผู้ใหญ่ พ.ศ. 2561 สมาคมโรคการหลับแห่งประเทศไทย ISBN: 978-616-92678-2-9 พิมพ์ครั้งที่ 1 กรุงเทพ: บริษัทบียอนด์เอ็นเทอร์ไพรซ์จำกัด; 2561. หน้า 71-75.

5)  Premthip  Chalidapongse.  Atypical  Facial  Pain (AFP)  and  Atypical  Odontalgia  (AO). Chulalongkorn  University  Press 2013: 67-68.

ผลงานวิจัย/ตีพิมพ์

  1. Peanchitlertkajorn S, Jaroenying R, Chalidapongse P, Klongnoi B, Boonpratham S. Pediatric Obstructive Sleep Apnea: The Role of Orthodontic Management – Review Article. J Med Assoc Thai 2021;104(2):326-36.
  2. Engboonmeskul T, Leepong N, Chalidapongse P. Effect of surgical mandibular setback on the occurrence of obstructive sleep apnea. J Oral Biol Craniofac Res 2020 Oct-Dec;10(4): 597-602. doi: 10.1016/j.jobcr.2020.08.008. Epub 2020 Aug 14. PMID: 32953442; PMCID: PMC7486450. ฐานข้อมูลวารสาร Scopus
  3. Vanichanon P, Mitrirattanakul S, Jorns TP, Chalidapongse P. Standard Diagnosis and Care of Patient with Temporomandibular Disorders: Announcement of the American Academy of Dental Research Revision 2010. J Dent Assoc Thai 2011; 61(1): 1-3.
  4. Sirirungrojying S, Srisintorn S, Akkayanont P. Psychometric profile of temporomandibular disorder patients in southern Thailand. J Oral Rehabil 1998; 25(27): 541-544.
  5. Sirirungrojying S, Akkayanont P. Prevalence of dental patients with temporomandibular disorders and background factors. J Dent Assoc Thai 1998; 48(1): 24-31.
  6. Akkayanont P., Chungpanich S., Sriplung H. Squamous Cell Carcinoma of the Oral Cavity: A Review of 1022 Cases in Southern Thailand . J Dent Assoc Thai 1997; 47(4) July-Aug: 208-214. (TCI 2)
  7. เปรมทิพย์ อรรฆยานนท์ แลงเกอร์ฮานสเซลล์ฮิสทิโอไซโทซิส วารสารศัลยศาสตร์ช่องปากและแม็กซิลโลเฟเชียล 11(1) ( มค.-มิย.40 )36-43 (TCI2)

ผลงานวิจัย proceeding full paper และนำเสนอใน conference

  1. ประภาพร เจิ้ง (Prapaporn Zheng) ชิษณุ แจ้งศิริพันธ์ (Dr.Chidsanu Changsiripun) เปรมทิพย์ ชลิดาพงศ์ (Dr.Premthip Chalidapongse) การเปลี่ยนแปลงความเอียงชันของฟันหน้าจากการใช้ทันตอุปกรณ์ยื่นขากรรไกรล่างร่วมกับการใส่เครื่องมือช่วยสบฟันในผู้ป่วยที่มีภาวะหยุดหายใจขณะหลับจากการอุดกั้น (Incisor Inclination Changes Caused by Using Mandibular Advancement Devices and Morning Occlusal Guides in Obstructive Sleep Apnea Patients) ในการประชุมเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษาแห่งชาติครั้งที่ 22 วันที่ 25 มีนาคม พ.ศ. 2564 ณ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
  2. P. Yakkaphan1**, W. Srisomphot1, S. Pichaiyut1, W. Nitithamakul1, P. Lertniti1, M. Veeravigrom2, N. Chirakalwasan2, P. Chalidapongse1 .  Accuracy of the Brux Checker Oral Device for Sleep Bruxism Diagnosis. Abstract Presentation at IADR SEA at Bali Indonesia 13th August 2015. The winner of Joseph Lister Award 2015.
  3. เปรมทิพย์ ชลิดาพงศ์, นฤชา จิรกาลวสาน, ประกอบเกียรติ หิรัญวิวัฒน์กุล,โกวิทย์พฤกษานุศักดิ์   Adjustable Mandibular Advancement Devices: Efficacy and Side Effect in Obstructive Sleep Apnea Treatment.  เข้าร่วมนำเสนอผลงานวิชาการ (oral presentation) ในการประชุมเสนอผลงานวิจัยประจำปี 2557 คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ กุมภาพันธ์ 2557
  4. เปรมทิพย์ ชลิดาพงศ์, นฤชา จิรกาลวสาน, ประกอบเกียรติ หิรัญวิวัฒน์กุล,โกวิทย์พฤกษานุศักดิ์   Adjustable Mandibular Advancement Devices: Efficacy and Side Effect in Obstructive Sleep Apnea Treatment.  เข้าร่วมนำเสนอผลงานวิชาการ (oral presentation) ในการประชุมวิชาการครบรอบ 60 ปีราชวิทยาลัยทันตแพทย์ ในวันที่ 23 ตุลาคม 2556 ณ สโมสรกองทับบก ถนนวิภาวดี กรุงเทพฯ
  5. Chalidapongse P., Chirakalwasan N., Hirunwiwatkul P., Pruegsanusak K. Efficacy of oral appliance therapy in obstructive sleep apnea patients: A retrospective multicentre study. In the 2nd ASEAN Sleep Congress, Bangkok, Thailand. 1st -3rd August 2013.
  6. Chalidapongse P., Apakupakul N. The prevalence of sleep bruxism and associated factors in primary school children : A community-based telephone interview survey. In the 22th Annual Meeting of American Academy of Dental Sleep Medicine. Baltimore, Maryland, USA. 30th  May- 1st  June 2013
  7. Chalidapongse P., Kamolmatakul S., Poolsin K., Benalie N., Ruikchuchit P., Auppathumsirikul T. The Prevalence of Temporomandibular Disorders and Associated Factors in Children. In the International Association Dental Research (South-East Asian Division), Hong Kong, China. 3-4 November 2012.
  8. Chalidapongse P, Udomratn P, Pangsoomboon K, Phabphal K. A randomised single blinded cross-over controlled trial study of two occlusal splints for sleep bruxism treatment in Thai subjects. In the 21th Annual Meeting of American Academy of Dental Sleep Medicine. Boston, Massachusetts, USA. 31 May- 2 June 2012.
  9. Chalidapongse P,SupajumroonC, Noo-song D, Ratanasingh S, Maneewat K. Information   needs and barriers in patients with temporomandibular disorders pain: A qualitative study. In the 7th annual scientific meeting of the Thai Association for the Study of Pain. Pattaya, Chonburi, May2006.
  10. Chalidapongse P, Assawasoonthonnet P. Pain impact and psychological profiles of TMDs/Orofacial pain patients. In the 20th annual scientific meeting of the International Association for Dental Research (South-East Asian division). Melaka, Malaysia, September 2005.
  11. Chalidapongse P, Harris M, Hammond P, Aviva P. Validation of Electronic Pain Proforma among TMD/Orofacial Pain. In the 20th annual scientific meeting of the International Association for Dental Research (South-East Asian division). Melaka, Malaysia, September 2005.
  12. Chalidapongse P, Harris M, Hammond P, Aviva P.Validation of the Facial Pain Proforma Questionnaire used in the Orofacial Pain and Temporomandibular Disorders Clinic. In the 16th annual scientific meeting of the Thai Association for the Study of Pain, Cha-um Petchaburi, May 2005.
  13. Akkayanont P, Harris M, Hammond P, Mehgi S. The development of electronic pain proforma. In the 9th World Congress on Pain, Vienna, Austria, August 1999.

ได้รับรางวัล

1. Joseph Lister Award 2015. at IADR SEA at Bali Indonesia 13th August 2015.

งานบริหารและกรรมการต่าง ๆ

  1. อนุกรรมการสอบเพื่ออนุมัติบัตรหรือวุฒิบัตร สาขาระบบบดเคี้ยวและความเจ็บปวดช่องปากใบหน้า ราชวิทยาลัยทันตแพทยศาสตร์ แห่งประเทศไทย วาระ 1 ปีพ.ศ. 2561-2563 และวาระ 2 ปีพ.ศ. 2563-2565
  2. กรรมการที่ปรึกษาสมาคมโรคจากการหลับ คณะกรรมการบริหาร ชุดที่ 4 | sst.or.th

Search