KPI หัวหน้าสาขาวิชาทันตกรรมประดิษฐ์

KPI หัวหน้าสาขาวิชาทันตกรรมประดิษฐ์

แบบข้อตกลงภาระงานหัวหน้าสาขาวิชาทันตกรรมประดิษฐ์
1 มิถุนายน 2564 – 31 พฤษภาคม 2565

Objectives KPI  Goles  ผู้รับผิดชอบ  Action Plans
1. ปรับกระบวนการทำงานของหน่วยงานโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ค่าใช้จ่ายการเบิก/จัดซื้อวัสดุสำนักงานสาขาวิชาลดลง ร้อยละ 5 นางสาวจิมรี แก้วงาม  – ดำเนินการเดินเรื่องต่างๆผ่านช่องทางไลน์กลุ่มของสาขาวิชาและเน้นการใช้ e-doc และรวบรวมยอดการเบิก/จัดซื้อวัสดุ และรายงานผลเปรียบเทียบกับรอบปีที่ผ่านมาทุกเดือน
2. รายวิชาของสาขาวิชาเป็นการเรียนการสอนและการประเมิน ตามมาตรฐานหลักสูตร ตามเกณฑ์ AUNQA และศตวรรษที่ 21 รายวิชาระดับปริญญาตรีที่มีการปรับเปลี่ยน  ร้อยละ 20  ผู้ประสานรายวิชา ทำการทบทวนหลักเกณฑ์ AUNQA และปรับปรุงการ course syllabi ให้สอดคล้องกับหลักเกณฑ์ในแต่ละรายวิชาโดยมีหัวหน้าสาขาวิชาเป็นผู้ดูภาพรวมทั้งหมด
3. จัดระบบการติดตามนักศึกษา          นักศึกษาป.ตรี จบตามเวลา ร้อยละ 80 ผู้รับผิดชอบรายวิชาคลินิก ปี 6  – ระบบติดตามการส่งงานทุก 3 เดือน
นักศึกษาป.บัณฑิต จบตามเวลา ร้อยละ 100 อ.ที่ปรึกษา  – ติดตามการทำงานคลินิกอย่างใกล้ชิด โดยมีการรายงาน clinical progression ทุก 3 เดือน
นักศึกษาป.โท จบตามเวลา ร้อยละ 100 อ.ที่ปรึกษา  – ติดตามการทำงานวิจัย คลินิกอย่างใกล้ชิด โดยมีการรายงาน research and clinical progression ทุก 3 เดือน
4. จัดระบบการติดตามนักศึกษาเพื่อการสอบ NL นักศึกษาผ่าน NL ร้อยละ 100 อ.ทพ.นิกูล ชุ่มเสนา  – จัดติวทบทวนความรู้ให้แก่นักศึกษาก่อนสอบอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง
5. ส่งเสริมและสนับสนุนรับฟัง VOCs ของผู้เรียนและให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมการออกแบบการเรียนการสอน 5.1 กิจกรรมที่ได้จาก VOCs ของผู้เรียน  1 กิจกรรม หัวหน้าสาขาวิชา ทำการสัมภาษณ์แนวทางความคิดเห็นของผู้เรียนปีละ 1 ครั้ง เพื่อนำเข้าในการสัมมนาสาขาวิชาเพื่อใช้ในการประกอบการปรับปรุงรูปแบบการเรียนการสอน 
5.2 รายวิชาที่นักศึกษามีส่วนร่วมในการออกแบบ ร้อยละ 80 ผศ.ดร.ชัยมงคล เปี่ยมพริ้ง จัดให้มีการปรับปรุงรายวิชาสัมมนาและบรรยายให้สามารถศึกษาย้อนหลังผ่านระบบออนไลน์ตามข้อเสนอแนะของผู้เรียน
5.3ผลการประเมินของนักศึกษา คะแนน > 4   จัดทำแบบประเมินตนเองให้นักศึกษาประเมินทุก 6 เดือน
6. ส่งเสริมสนับสนุนให้คณาจารย์สอดแทรกการดูแลสุขภาพจิตของนักศึกษา ผลการประเมินนักศึกษา คะแนน > 4 อาจารย์ทุกคน ให้อาจารย์ทุกคนติดตามและรายงานนักศึกษาที่ได้มีการเรียนการสอนโดยมีการพูดคุยในสาขาวิชาถึงข้อพึงระวัง หรือนักศึกษาที่อาจจะมีแนวโน้มการมีปัญหาผ่านช่องทางการประชุมสาขาในทุกเดือน 

7. ให้สาขาวิชามีผลงานที่สอดคล้องกับตัวชี้วัดที่มหาวิทยาลัยกำหนด


 สามารถปรับเปลี่ยนให้เข้ากับบริบทของสาขา หากยังต้องเป็นค่ามาตรฐาน เช่น ไม่ลงบริการวิชาชีพ แต่ผลงาน 1 paper/คน/ปี (WOS/Scopus)

7.1 ผลงานตีพิมพ์ใน WOS หรือ Scopus 0.5 paper/คน อาจารย์ที่ปรึกษางานวิจัยนักศึกษา สนับสนุนให้อาจารย์นำผลงานที่ทำการวิจัยร่วมกับนักศึกษาเพื่อเผยแพร่ทุกชิ้นงาน และติดตามความก้าวหน้าทุก 6 เดือน 
7.2 ทุนวิจัยภายนอก 5,000.- บาท/คน อาจารย์ทุกคน ทำการรับนักศึกษาวุฒิบัตรอย่างน้อยปีละ 4 คน เพื่อรับทุนวิจัยจากราชวิทยาลัย และส่งเสริมให้มีการขอทุนจากภายนอกตามประกาศของหน่วยส่งเสริมและพัฒนางานวิจัย
7.3 ให้บริการวิชาชีพ  1 คาบ/คน/สป. อาจารย์ทุกคน จัดตารางการลงรักษาผู้ป่วย และการ recall case เดิมของนักศึกษาที่จบไปแล้ว ให้อาจารย์ทุกท่าน
7.4 อ.มีคุณสมบัติเป็นอ.ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์/อ.ประจำหลักสูตร  ร้อยละ 50 อาจารย์บัณฑิตศึกษา ส่งเสริมให้อาจารย์ที่มีคุณวุฒิตามข้อกำหนดมีงานวิจัยเพิ่มเติมเพื่อสามารถรับนักศึกษาหลังปริญญาเพื่อทำวิจัยได้
7.5 กิจกรรมเพื่อสังคม 1 กิจกรรม ผศ.ดร.ชัยมงคล เปี่ยมพริ้ง ออกหน่วยฟันเทียมพระราชทาน หรือหน่วยทันตกรรมทั่วไปอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง
8. ส่งเสริมหลักสูตรใหม่เพื่อเพิ่มจำนวนนักศึกษาหลังปริญญาและนักศึกษาต่างชาติ 8.1 หลักสูตรใหม่ 1 หลักสูตร ผศ.ดร.ชัยมงคล เปี่ยมพริ้ง จัดทำหลักสูตร non-degree ในสาขาทันตกรรมดิจิทัล จำนวน 1 หลักสูตร
8.2 เพิ่มจำนวนนักศึกษา ร้อยละ 10 ผศ.ดร.ชัยมงคล เปี่ยมพริ้ง เพิ่มจำนวนนักศึกษาในรูปแบบ non-degree 
9. Website หน่วยงานเป็นปัจจุบัน และมีสารสนเทศที่เป็นประโยชน์ต่อผู้รับบริการ Website หน่วยงานเป็นปัจจุบัน เช่น research interest ของอาจารย์ในสาขา   นางจรรยา ชื่นอารมณ์ ทำการปรับปรุงรายละเอียดในเว็บไซต์ทุกสัปดาห์ 
10. แผนปฏิบัติการของสาขาวิชา ที่กำหนดตัวชี้วัด ผู้รับผิดชอบ การติดตาม 10.1 Year plan   ผศ.ดร.ชัยมงคล เปี่ยมพริ้ง นางคันธรส สนธิพิพัฒน์ นางจรรยา ชื่นอารมณ์  
10.2 Year report    
10.3 Key Report    

Search